4พิมพ์หลังของพระกริ่งปี2500ที่ใช้ประกบพิมพ์หน้าต่างๆ
ความรู้เกี่ยวกับ-พระกริ่งรมดำปี2500
พิมพ์ด้านหลังของพระรุ่นนี้มีเพียง4พิมพ์เท่านั้น... เนื่องจากพิมพ์หลังมีน้อยกว่าพิมพ์หน้าจึงต้องสร้างขึ้นมาหลายบล๊อค โดยเฉพาะหลังพิมพ์ที่1ที่ใช้กับ พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่1และพิมพ์กลางทั้งหมด3พิมพ์ จะมีทั้งหลังแตกและหลังไม่แตกฯลฯ
***หลักใหญ่ในการดูให้ยึดถือลักษณะการเรียงและช่องไฟเม็ดพระศกเป็น"หลัก"
พิมพ์ที่1-จากเม็ดพระศกเม็ดกลางล่างสุดสามารถลากเส้นตามร่องทะแยงตรงได้สุด เม็ดพระศกนับได้8แถวเป็นพิมพ์หลังของพระพิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่1และพิมพ์กลางทั้งหมด พิมพ์ที่2-เม็กพระศกจะมีขนาดใหญ่และนับได้7แถวเป็นหลังเฉพาะพิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่2 พิมพ์ที่3-เม็ดพระศกนับได้8แถวไม่เป็นระเบียบเป็นพิมพ์หลังเฉพาะพิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่3 พิมพ์ที่4-เม็ดพระศกนับได้8แถวไม่เป็นระเบียบเป็นพิมพ์หลังเฉพาะพิมพ์เล็กทุกพิมพ์
พิมพ์หน้าใหญ่ทั้งสามพิมพ์ พิมพ์ที่1-หลังแตก พิมพ์ที่2-หลัง7แถว พิมพ์ที่3-หลัง8แถว
พิมพ์ที่1-หลังแตก พิมพ์ที่2-หลัง7แถว พิมพ์ที่3-หลัง8แถว
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่1-หลังแตก
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่1-หลังแตก
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่1-หลังแตก
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่1-หลังแตก
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่2-หลังพิมพ์2(7แถว)
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่2-หลังพิมพ์2 (7แถว)
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่2-หลังพิมพ์2 (7แถว) พระองค์นี้เป็นพระที่ถูกขัดล้างรมดำออก...
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่3-หลังพิมพ์3 (8แถว)
พิมพ์ใหญ่พิมพ์ที่3-หลังพิมพ์3 (8แถว)
พิมพ์หน้ากลาง
ด้านหลังพระพิมพ์ที่1 ให้จดจำลักษณะการเรียงเม็ดพระศกจากเม็ดกลางล่างสุด จะเป็นร่องทะแยงตรงเป็นเส้นตรงได้สุดและ ตรงสะโพกด้านขวามีรอยยุบจากภาพจะดูคล้ายเลขบวก
พยายามอย่าใช้ตัวอักษรหรือตัวเลขเป็นหลักจดจำเพราะ... ตัวเลขและตัวหนังสือเป็นตัวหนาโอกาศปั้มเขยื่อน-ติดไม่เด็ม-บี่แบน-พิมพ์ไม่ชัดมีมาก ตัวเลขและอักษรจะผิดเพี้ยนไปจะทำให้ยากแก่การจดจำลักษณะเดิมของตัวเลขและตัวอักษร ซึ่งความจริงส่วนมากก็ไม่สามารถจดจำลักษณะเดิมของตัวเลขและตัวอักษรได้อยู่แล้ว ไม่เหมือนเม็ดพระศกสามารถสังเกตุจากการเรียงและช่องไฟได้ถึงแม้น เม็ดพระศกบางเม็ดจะพิมพ์ไม่ติดหรือบี้แบนก็ตาม...
หลังพิมพ์ที่1จะประกบพระพิมพ์ใหญ่และพิมพ์หน้ากลางทั้ง3พิมพ์ เห็นได้ว่าจะมีทั้งหลังแตกและไม่แตกฯลฯ
พิมพ์กลางพิมพ์ที่1-หลังพิมพ์1
พิมพ์กลางพิมพ์ที่1-หลังพิมพ์1
พิมพ์กลางพิมพ์ที่2-หลังพิมพ์1
พิมพ์กลางพิมพ์ที่3-หลังพิมพ์1
พิมพ์กลางพิมพ์ที่3-หลังพิมพ์1
พิมพ์หน้าเล็กเป็นพระในชุดเดียวกัน เพราะใช้พิมพ์หลังพิมพ์เดียวกันคือหลังพิมพ์ที่4
ตลาดส่วนใหญ่เลื่อนพระชุดนี้เป็นพิมพ์หน้ากลางเกือบหมด อาจจะเป็นเพราะแบ่งออกเพียงสองพิมพ์คือ... -เม็ดพระศกหน้า4แถว(พิมพ์หน้าใหญ่) -เม็ดพระศกหน้า5แถว(พิมพ์หน้ากลาง) โดยไม่มีพิมพ์หน้าเล็กเพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณาก็เป็นได้...
พิมพ์เล็กชุดนี้จะใช้หลังพระพิมพ์เดียวกันคือหลังพิมพ์ที่4 ควรจดจำลักษณะการวางเม็ดพระศกให้แม่นยำ การวางเม็ดพระศก แถวที่3จากล่างจะมีลักษณะเป็น2 ง่าม...
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่1-หลังพิมพ์ที่4
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่1-หลังพิมพ์ที่4
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่2-หลังพิมพ์ที่4
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่2-หลังพิมพ์ที่4
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่3-หลังพิมพ์ที่4
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่3-หลังพิมพ์ที่4
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่3-หลังพิมพ์ที่4
พิมพ์หน้าเล็กพิมพ์ที่3-หลังพิมพ์ที่4 ใต้ฐานพระกริ่งปี2500
พระชัยวัฒน์ปี2500... เป็นพระสร้างพิธีเดียวกันกับพระกริ่งปี2500 ลักษณะองค์พระจะเล็กและบางกว่าพระกริ่งเล็กน้อย ด้านหลังขององค์พระจะไม่มีตัวอักษรและปีพ.ศ. ใต้ฐานจะไม่มีการอุดกริ่งมีทั้งรอยตะไบที่ใต้ฐานและรอยตัดไม่มีรอยตะไบ.. มีเพียงพิมพ์เดียว
พระชัยวัฒน์ปี2500...
พระชัยวัฒน์ปี2500...
พระชัยวัฒน์ปี2500...
ใต้ฐานพระชัยฯปี2500 มีทั้งชนิดแต่งด้วยดะไบสวยงามและไม่แต่ง
สรุปพิมพ์พระด้านหน้าและพิมพ์ประกบหลังพระกริ่งปี2500
|